วันศุกร์ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

เรื่องจริงเกี่ยวกับคลอโรฟิลล์

เรื่องจริงเกี่ยวกับคลอโรฟิลล์
สารประกอบคลอโรฟิลล์ได้รับการค้นพบสูตรโครงสร้างทางเคมีครั้งแรกเมื่อประมาณต้นศตวรรษที่ 20 โดยนักวิทยาศาสตร์ชื่อ ศาสตราจารย์ ฮาน์ส ฟิชเชอร์ (Hanns Fisher, M.D.) และเป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ได้รับรางวัลโนเบล (Noble's Prize)

เนื่องจากสามารถค้นพบความเร้นลับของคลอโรฟิลล์ได้สำเร็จ และจากการค้นพบดังกล่าว ทำให้เราทราบว่า สูตรโครงสร้างของคลอโรฟิลล์มีลักษณะคล้ายคลึงกับสูตรโครงสร้างของสารประกอบฮีม (Heme) ที่เป็นโครงสร้างหลักของเม็ดเลือดแดง (Red Blood Cell) ของคนเราอย่างมาก

และจากการวิจัยทางการแพทย์ก็ยืนยันว่า ร่างกายของคนเราก็สามารถนำเอาสารคลอโลฟิลล์นี้ไปเป็นสารตั้งต้น (Precursor)ในการสร้างเม็ดเลือดแดงได้เมื่อร่างกายต้องการโดยเฉพาะในภาวะที่ร่างกายของเราเกิดความบกพร่องในการสร้างเม็ดเลือดแดงเนื่องจากขาดสารอาหารอย่างเช่น ในภาวะโลหิตจาง (Anemia)ฯลฯ

ปกติแล้ว ในร่างกายของคนเราจะต้องมีการสร้างและทำลายเซลล์มากกว่า 2.5 ล้านเซลล์และร่างกายจะต้องสร้างขึ้นมาทดแทนในจำนวนที่เท่าๆ กัน และยิ่งในคนที่ร่างกายต้องทำงานหนัก ยิ่งพบว่าการทำลายของเม็ดเลือดแดงในร่างกายของคนเราก็จะมากขึ้นตามไปด้วย

ดังนั้นภาวะที่ร่างกายของเราก็อาจจะเกิดความบกพร่องในการสร้างเม็ดเลือดแดงเนื่องจากขาดสารตั้งต้นในการสร้าง และหากปล่อยให้เกิดความบกพร่องดังกล่าวนานๆ ก็อาจจะทำให้เกิดความผิดปกติต่างๆ ต่อร่างกายของเราตามมาได้ทั้งนี้เนื่องจากการที่เม็ดเลือดแดงถือเป็นระบบขนส่งสารอาหารที่สำคัญที่สุดในร่างกาย

ดังนั้นหากขาดเม็ดเลือดแดงก็อาจจะทำให้ร่างกายเกิดความบกพร่องในการทำงานของเซลล์และอวัยวะต่างๆได้

มนุษย์เราเริ่มใช้คลอโรฟิลล์ในการแพทย์เมื่อปี 1940 พร้อมๆ กับที่ใช้เป็นยาสีฟัน ยาดับกลิ่นปาก และได้มีการใช้คลอโรฟิลล์ในการบำบัดโรค เช่น รักษาโรคทางเดินอาหาร ลำไส้ใหญ่ โรคผิวหนังชนิดต่างๆ โดยเฉพาะแผลเรื้อรัง คลอโรฟิลล์สามารถใช้รักษาแผล ให้แผลหายเร็วกว่าปกติ มีบทบาทเป็นยาฆ่าเชื้อแบคทีเรียทั้งยังดับกลิ่นเหม็นของแผล และสามารถทำความสะอาดแผลให้สะอาดได้ดีกว่ายาตัวอื่น


คลอโรฟิลล์ “จากอัลฟาฟ่า”
จากการวิเคราะห์คลอโรฟิลล์จากพืชกว่า 6,000 ชนิด ทั้งจากใต้น้ำถึงบนพื้นดิน พบว่า พืชที่ให้คลอโรฟิลล์บริสุทธิ์และดีที่สุดคือ อัลฟาฟ่าเท่านั้น

อัลฟาฟ่าจัดเป็นพืชจำพวกที่มีฝัก (Legumes) หรือพืชตระกูลถั่ว ใบเลี้ยงคู่และมีระบบรากที่มหัศจรรย์มาก ในบางพื้นที่ ระบบรากของอัลฟาฟ่าสามารถชอนไชลงไปในดินถึงกว่า 130 ฟุตจึงทำให้สามารถหาอาหารได้มีประสิทธิภาพมากกว่าพืชชนิดอื่นๆ อีกทั้งระบบการป้องกันตัวเอง หรือป้องกันสารพิษในเซลล์ของพืชอัลฟาฟ่า ก็ดีกว่าพืชชนิดต่างๆ ชาวอาหรับโบราณรู้จักใช้ประโยชน์จากอัลฟาฟ่ามาตั้งแต่ 2,000 ปีก่อนคริสตกาลโดยใช้เป็นพืชเลี้ยงสัตว์ และใช้ใบมาตากแห้งชงเป็นชา บริโภคจึงถูกขนานนามให้เป็น AL-FAS-FAH-SHA หรือ “ราชาแห่งอาหารทั้งมวล”

ประโยชน์จากต้นอัลฟาฟ่ามักได้จากส่วนใบและลำต้นซึ่งได้ถูกนำไปใช้สำหรับบำบัดอาการปวดข้อและอักเสบต่างๆ เช่น ปวดข้อ (ARTHRITIS) ไปจนกระทั่งถึงความผิดปกติในระบบทางเดินอาหารและเซลล์ในตับถูกทำลายนอกจากนี้ยังเชื่อกันว่าอัลฟาฟ่า ยังสามารถช่วยให้เลือดสะอาดขึ้น

อัลฟาฟ่าเป็นพืชที่ให้กรดอะมิโนจำเป็นครบทั้ง 8 ชนิดซึ่งได้แก่ กรดอะมิโนไอโซลิวซีนลิวซีน ไลซีน เมไธโอนีนพีนิลอะลานีน เทรโอนีนทริปโตฟาน และวาลีน และพบว่ากรดอะมิโนเหล่านี้ ร่างกายของเราไม่สามารถสร้างเองได้แต่จำเป็นต้องมีไว้เพื่อใช้ประโยชน์ในการสร้างเนื้อเยื่อต่างๆ นอกจากนี้ในอัลฟาฟ่ายังอุดมไปด้วยวิตามินเอบี 6 ดี อี เค เกลือแร่ฟอสฟอรัส โปแตสเซียม และแคลเซียม


คลอโรฟิลล์ (CHLOROPHYLL) เกือบ 100 ปี แห่งการค้นพบ
คลอโรฟิลล์คือ สารประกอบที่ทำให้พืชมีสีเขียวและทำหน้าที่หลักคือ สังเคราะห์แสง (Photosynthesis)โดยการเปลี่ยนพลังงานจากแสงอาทิตย์ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และแร่ธาตุต่างๆ จากดินให้กลายเป็นสารอาหารที่จำเป็นสำหรับการเจริญเติบโตของพืช รวมทั้งให้ก๊าซออกซิเจนที่สำคัญอย่างยิ่งในการดำรงชีวิตของมนุษย์และสัตว์ คลอโรฟิลล์ธรรมชาติมีหลายชนิดบางชนิดสังเคราะห์แสงได้ในที่ที่มีแสงแดดเท่านั้น แต่บางชนิดสังเคราะห์แสงได้แม้ในที่ไม่มีแสงเช่นในร่างกายของคน จึงมีการค้นคว้าเกี่ยวกับการทำงานหรือปฏิกิริยาของคลอโรฟิลล์ต่อคนพบว่า คลอโรฟิลล์ที่อยู่ในเซลล์ของพืชทั่วไปจะถูกปกป้องและปิดกั้นด้วยผนังหรือเยื่อหุ้มเซลล์อีกทีหนึ่ง ทำให้ระบบย่อยอาหารปกติของร่างกายเราไม่สามารถบดย่อยเพื่อให้ได้สารคลอโรฟิลล์เพียงพอกับความต้องการของร่างกายได้

ถึงแม้ว่าเราจะบริโภคผักใบเขียวเป็นจำนวนมากอย่างไรในแต่ละวันก็ตาม อีกทั้งคลอโรฟิลล์โดยตัวมันเองละลายน้ำไม่ได้ จะละลายได้ในไขมัน หรือในบางรูปของแอลกอฮอล์เท่านั้น แต่ด้วยเทคโนโลยีในปัจจุบัน เราสามารถสกัดเอาเฉพาะสารคลอโรฟิลล์ออกมาได้อย่างสมบูรณ์และบริสุทธิ์โดยปราศจากการสูญเสียคุณค่าทางอาหารตามธรรมชาติ ร่างกายจึงสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทันทีอย่างเต็มที่และเป็นคลอโรฟิลล์ชนิดละลายน้ำได้จึงดูดซึมได้ทันทีในกระเพาะอาหารในกรณีที่ร่างกายใช้ไม่หมดจะถูกขับทิ้งไปทางระบบขับถ่ายไม่สะสมไว้ในร่างกาย

ผิดกับคลอโรฟิลล์ชนิดที่ละลายในไขมันจะไม่ถูกดูดซึมที่กระเพาะอาหาร แต่จะย่อยและดูดซึมที่ลำไส้เล็กคลอโรฟิลล์ชนิดนี้เมื่อร่างกายใช้ไม่หมดจะถูกส่งต่อไปสะสมไว้ที่ตับ (liver) ในระยะเวลาหนึ่งอาจเกิดอันตรายต่อตับได้

องค์การอาหารและยาสหรัฐจึงให้การรับรองเฉพาะคลอโรฟิลล์ที่ละลายน้ำได้ (WATERSOLUBLE CHLOROPHYLL) เท่านั้นว่า ปลอดภัยต่อการบริโภคของคน ถึงแม้ว่าจะบริโภคในปริมาณมากต่อวันก็ไม่เกิดผลเสียต่อร่างกายแต่อย่างใด ผลข้างเคียงที่เกิดขึ้นก็มีเพียงอาการท้องเสียอย่างเบาบางกรณีเท่านั้น

ด้วยสูตรโครงสร้างของโมเลกุลที่ใกล้เคียงกับโมเลกุลของเม็ดเลือดแดงต่างกันเฉพาะตรงกลางที่คลอโรฟิลล์มีแมกนีเซียม (Mg) และเม็ดเลือดแดงมีเหล็ก (Fe) จึงทำให้สีของมันต่างกันคือ คลอโรฟิลล์มีสีเขียว แต่เม็ดเลือดมีสีแดง จากจุดนี้เองที่ทำให้คลอโรฟิลล์ถูกเรียกว่า“เลือดของพืช” (Blood of Plant)

ผลการวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์มากมายสรุปตรงกันว่า คลอโรฟิลล์สามารถกระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดงได้จนทำให้ผู้วิจัยได้รับรางวัลโนเบล (NobelPrize) ไปแล้วถึง 2 ท่านด้วยกันคือ ดร.ริชาร์ด
วินสเตตเตอร์ (DR. RICHARD WINSTATER) ศาสตราจารย์จากมหาวิทยาลัยออสเตรียในปี ค.ศ.1915และดร.ฮันส์ฟิชเชอร์ (DR. HANSFISHER M.D.) นายแพทย์ชาวเยอรมันในปีค.ศ.1930 ผู้ซึ่งค้นพบความสัมพันธ์ระหว่างเม็ดเลือดแดงและคลอโรฟิลล์

ในบางเงื่อนไขสามารถแทนที่ศูนย์กลางของคลอโรฟิลล์ด้วยเหล็ก (Fe) จากอาหารธรรมชาติบางประเภททำให้อัตราการเพิ่มของเม็ดเลือดแดงดีขึ้นทั้งนี้แมกนีเซียม (Mg) ที่หลุดออกไปจากศูนย์กลางโมเลกุลของคลอโรฟิลล์ก็จะทำหน้าที่พาแคลเซียม (Ca)2Ca-Mg เข้าไปอุดรูพรุนกระดูกต่างๆ ทำให้กระดูกแข็งแรงขึ้นในโพรงกระดูกซึ่งมีไขกระดูก (Bone Marrow) อยู่ก็จะมีการสร้างเม็ดเลือดแดงได้ในปริมาณที่มากขึ้น (หน้าที่ของไขกระดูกคือสร้างเม็ดเลือดแดงและปรับระดับความเป็นด่างในกระแสเลือด)

จากการทำวิจัยขององค์การอาหารและยาสหรัฐกับผู้ป่วยแผลเปิดจำนวน 3,600 รายพบว่า คลอโรฟิลล์ช่วยกระตุ้นให้มีการสร้างเซลล์ใหม่ให้เร็วขึ้นทำให้แผลหายเร็วกว่าปกติ 25% ขึ้นไป และรอยแผลเป็นลดขนาดลงกว่า 50% หรือมากกว่า จากกรณีนี้ จึงมีการวิจัยต่อเกี่ยวกับการรักษาอาการเจ็บป่วยภายในร่างกายอันเป็นสาเหตุของการเกิดกลิ่นอันไม่พึงประสงค์ พบว่าผู้ป่วยทั้ง 1,227 ราย กลิ่นภายในหายหมดหลังจากใช้คลอโรฟิลล์ผ่านไป 2 สัปดาห์จึงให้การรับรองว่า เป็นยาดับกลิ่นภายในสามารถซื้อขายได้ตามร้านขายยาและอาหารเสริมตั้งแต่ วันที่ 11 พฤษภาคม 1990

คลอโรฟิลล์ช่วยคุณได้อย่างไร?
จากประสบการณ์ของผู้ใช้-ผู้บริโภคทั่วโลกได้ข้อสรุปที่น่าสนใจของคลอโรฟิลล์ดังนี้
-ช่วยให้เลือดสะอาด
-ช่วยให้ตับสะอาดเสริมการรักษาในผู่ป่วยตับอักเสบ
-เสริมธาตุเหล็กให้ร่างกาย
-ทำให้สดชื่นหายเหนื่อยจาการอ่อนเพลีย
-ลดความดันโลหิต ลดปัญหาเส้นเลือดหัวใจตีบตัน
-ทำให้ระดับน้ำตาลลดลงสำหรับคนไข้โรคเบาหวาน
-บรรเทาอาการโรคภูมิแพ้ แพ้อากาศ โรคหืด ผื่นลมพิษค่อยๆ ทุเลาจนหายได้
-ขับกรดจากข้อต่างๆ ทำให้อาการปวดข้อปวดเมื่อยตามตัวทุเลาและหายได้
-ขับสารพิษออกจากร่างกาย สารตกค้างของยาปฏิชีวนะ สารเคมีตกค้างในอาหารทำให้ร่างกายมีภูมิต้านทานดีสุขภาพแข็งแรงสดชื่นขึ้น
-ป้องกันและระงับการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง และช่วยเพิ่มเซลล์เม็ดเลือดแดง
-แก้ปัญหาคนท้องผูก ขับถ่ายดีขึ้น ริดสีดวงทวารทุเลาและหายได้
-ดับกลิ่นตัวกลิ่นปาก กลิ่นเท้าโดยเฉพาะผู้ชายที่ใส่ถุงเท้าแล้วเหม็น
-แก้ปัญหาอาการชา บวม และส้นเลือดขอดให้ทุเลาลงได้
-ชะลอความแก่ทำให้มีอายุยืน
-ยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียใช้รักษาแผลอักเสบ แผลเปื่อยแผลเรื้อรัง แผลถลอก แผลไฟไหม้เหงือกอักเสบ แผลในปากคออักเสบ โดยใช้ผงคลอโรฟิลล์โรยบนแผลจะทำให้แผลหายเร็ว
-บรรเทาอาการปวดศีรษะทั่วไป ปวดศีรษะไมเกรน
-ช่วยแก้ปัญหาเรื่องโรคกระเพาะลำไส้อักเสบ ช่วยสมานแผล
-แก้ปัญหาเรื่องสิวฝ้า ปวดประจำเดือน ประจำเดือนมาไม่ปกติ
-ควบคุมน้ำหนักลดน้ำหนัก คลอเรสเตอรอลในเลือด
-มีผลต่อสุขภาพตาในคนที่เป็นต้อกระจกทำให้การมองเห็นดีขึ้น
-มีสารอาหารบำรุงเส้นผมทำให้เส้นผมหงอกดำขึ้นช่วย ลดอาการผมร่วง
-ลดอาการเมาค้าง
-ได้ทดลองกับผู้ป่วย HIV เมื่อรับประทานคลอโรฟิลล์เข้าไปแล้วทำให้ร่างกายของผู้ป่วยมีระดับภูมิคุ้มกันดีขึ้นเป็นลำดับ

ที่มา:
1. Bohne C.et ol:Interaction of enzyme-generate species with
chlorophyll-alpha andprobe bound to serum albumlns (Photochem Photobiol, 1988 Sep) (MEDLINE)

2. Acheson DW, etal : Dianostic delay due to chlorophyll in oral rehydration solution(letter) (lancet, 1987 Jan 17) (MEDLINE)

3. ChemomorskySA,et al : Biological actives of chlorophyll derivative, (N J Med,1988 Aug) (MEDLINE)

4. Hooper JK, etal : Photodynamic sensitizers from chlorophyll : purin-18 and chiorinp6 (Photochem Photobiol, 1988 Nov) (MEDLINE)

-end-

#Unicity #Unipower #Passive Income #Financial Freedom #Leader
#Leadership #Network Marketing #Network #ครู #ชีวิตครู #อำนาจเจริญ

Author: Vitaya S.
Line ID: yordpoupee
facebook: www.facebook.com/vitayas







ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น